พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เหรียญมงคลบพิตร...
เหรียญมงคลบพิตร ๒๔๘๕ เนื้อทองแดง
เหรียญรุ่น 2 พระมงคลบพิตร ปี 2485 เนื้อทองแดงรมดำพระมงคลบพิตร.. พุทธปฏิมาที่ทรงพุทธานุภาพแห่งกรุงศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2485 ได้มีการจัดสร้างเหรียญพระมงคลบพิตรและแหวนยันต์มงคล เหรียญที่จัดสร้างขึ้นเป็นเหรียญปั๊ม 5 เหลี่ยม มีทั้งเนื้อทองแดง เนื้อเงิน และเนื้อทองแดงพระเกศเป็นทองคำ ซึ่งเป็นพระคะแนน พิธีกรรมยิ่งใหญ่ไม่แพ้การจัดสร้างพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พิธีการสร้างเหรียญพระมงคลบพิตรและแหวนยันต์มงคล ปี พ.ศ. 2485 แบ่งเป็น 2 วาระวาระแรก.....คือพิธีกรรมหลอมทอง กระทำ ณ วิหารพระมงคลบพิตร เริ่มตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ ต่อเนื่องถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 พระญาณไตรโลกาจารย์ (ฉาย) วัดพนัญเชิงวรวิหาร เป็นประธานจุดเทียนชัย ไฟที่ใช้จุดเทียนชัยนี้ ไม่ใช่ไฟธรรมดา แต่ใช้ล่อจากแสงอาทิตย์ ซึ่งนับว่าเป็นไฟฟ้าอย่างแท้จริง ในระหว่างพิธี ได้นำแม่พิมพ์ที่ใช้สร้างเหรียญพระมงคลบพิตรและแหวนยันต์มงคลไปถวายพระเถราจารย์ ลงเลขยันต์ปลุกเสก และยังได้อาราธนาประชุมปลุกเสกพร้อมกัน ทั้งแม่พิมพ์และโลหะทั้งหมดที่จะนำไปหลอม ณ ที่เฉพาะพระพักตร์พระมงคลบพิตรอีกครั้งหนึ่ง โลหะที่นำไปหลอมจัดสร้างวัตถุมงคลในครั้งนั้น ประกอบด้วยแผ่นทองจากพระอาจารย์ผู้ทรงวิทยาคมในจังหวัดต่างๆ ลงอักขระปลุกเสกและส่งมาร่วมในพิธี จำนวน 121 รูป โลหะเครื่องรางโบราณที่พบในบริเวณพระราชวังโบราณ คราวปรับปรุงเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาอีกมากหลายชนิดนอกจากนี้ ยังมีทองชนวนจากพิธีสำคัญของพระอารามต่างๆ เช่น ทองชนวนพิธี วัดอนงคาราม ทองชนวนพิธีวัดหิรัญรูจี ทองชนวนรุ่นพระอาจารย์ 108 ของพิธีวัดราชบพิธ พ.ศ. 2481 ทองชนวนนวโลหะ พิธีหล่อพระชัยของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ ทองชนวนพระกริ่งวัฒนะ วัดกัลยาณมิตร ทองชนวนพระกริ่ง วัดชนะสงคราม ทองชนวนพระกริ่ง วัดสุทัศน์ ทองชนวนนวโลหะจากพิธีสำคัญต่างๆครั้นในวันรุ่งขึ้นวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2485 ได้ปฐมฤกษ์ เวลา 10:21 น. หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา เป็นประธานหย่อนแผ่นเงินจารึกดวงประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน กับดวงฤกษ์ลงเบ้า เพื่อหลอมรวมกับทองชนวนและโลหะมงคลต่างๆ ซึ่งสุมรวมอยู่ในเบ้าอยู่ก่อนแล้ว ต่อมา ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ภริยา ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ใส่ทองคำหนัก 1 บาท (ทองคำนี้ได้อาราธนาพระเถราจารย์ลงอักขระปลุกเสกโดยเฉพาะทุกรูป) ลงเบ้าจนละลายเข้ากันดี แล้วหลวงพ่อจาด จึงเริ่มเททอง โหรลั่นฆ้องชัย พิณพาทย์บรรเลง พระเถราจารย์ทั้งหลายเจริญชัยมงคลคาถา เมื่อดับเทียนชัยแล้ว พระเถราจารย์ทั้งหมดได้มาบริกรรมปลุกเสกทองที่หลอมเสร็จกับแม่พิมพ์อีกครั้งหนึ่ง เป็นอันเสร็จพิธีหลอมทองวาระสอง.....หลังจากปั้มเหรียญเสร็จเป็นองค์พระเครื่องแล้ว ได้จัดให้มีพิธีพุทธาภิเษกอีกครั้งหนึ่ง ในวันเสาร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 5 (วันเสาร์ ๕) ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2485 ณ พระอุโบสถ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ พระคณาจารย์ 121 รูป ที่เมตตาลงอักขระปลุกเสกแผ่นทอง ส่งมาร่วมพิธี ล้วนเป็นพระเถระผู้ทรงวิทยาคมแห่งยุค อาทิ :สมเด็จพระสังฆราช (แพ) วัดสุทัศน์สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ (ชื่น) วัดบวรนิเวศวิหารสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) วัดมหาธาตุสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดเทพศิรินทราวาสพระญาณไตรโลกาจารย์ (ฉาย) วัดพนัญเชิงหลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้ กาญจนบุรีหลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่นอกหลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอกหลวงปู่เฮี้ยง วัดป่าอรัญญิกาวาส ชลบุรีหลวงปู่จันทร์ วัดบ้านยาง ราชบุรีหลวงปู่กลิ่น วัดสะพานสูง นนทบุรีหลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ ชลบุรีหลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม นครปฐมหลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก ฉะเชิงเทราหลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว สมุทรปราการหลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา ปราจีนบุรีพระครูอาคมสุนทร (มา) วัดราชบูรณะ กรุงเทพฯพระครูพิทักษ์ธรรมโสภิต วัดแหลมฟ้าผ่าหลวงพ่อบ่าย วัดช่องลม สมุทรสงครามหลวงปู่เส่ง วัดกัลยาณมิตรหลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ สมุทรสาครหลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม สมุทรสงครามหลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ อยุธยาหลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ อยุธยาพระอธิการจันทร์ วัดคลองระนง นครสวรรค์หลวงปู่จันทร์ วัดนางหนู ลพบุรีหลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง นครปฐมหลวงพ่อปลื้ม วัดปากคลองมะขามเฒ่า ชัยนาทหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง นครปฐมหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยาหลวงพ่อเล็ก วัดบางนมโค อยุธยาพระอาจารย์แฉ่ง วัดบางพัง นนทบุรีฯลฯนอกจากส่งแผ่นทองเข้าร่วมพิธีแล้ว พระเถระหลายท่านยังได้เมตตารับนิมนต์ร่วมทำพิธีหลอมทอง ณ วัดมงคลบพิตร และพิธีพุทธาภิเษก ณ วัดราชบพิธอีกด้วย กล่าวได้ว่า เหรียญพระมงคลบพิตร พ.ศ. 2485 เป็นหนึ่งในสุดยอดเหรียญที่เต็มเปี่ยมด้วยพุทธคุณ มีขั้นตอนการสร้างอันพิถีพิถันและงดงามยิ่ง วัตถุมงคลทุกชิ้นที่สร้างขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเนื้อทองแดงหรือเนื้อเงิน ล้วนได้เจือทองในพิธีผสมทั่วกันหมด แล้วยังเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เช่าบูชา ดังนี้ :-บริจาค 1 บาท ได้รับเหรียญพระมงคลบพิตร เนื้อทองแดง หรือแหวนยันต์มงคล อย่างใดอย่างหนึ่ง-บริจาค 2 บาท ได้รับแหวนยันต์มงคลเนื้อเงินขัดเงา 1 วง-บริจาค 3 บาท ได้รับเหรียญพระมงคลบพิตร เนื้อเงิน 1 เหรียญ-บริจาค 4 บาท ได้รับแหวนยันต์มงคลเนื้อเงินกะไหล่ทอง 1 วง-บริจาค 100 บาท ได้รับเหรียญพระมงคลบพิตรเนื้อทองแดง หรือแหวนยันต์มงคลเนื้อทองแดง อย่างใดอย่างหนึ่ง 110 ชิ้น และแถมพระมงคลบพิตรเนื้อทองแดง พระเกศทองคำ (เหรียญคะแนน)
ผู้เข้าชม
600 ครั้ง
ราคา
โทรถาม
สถานะ
มาใหม่
โดย
ชื่อร้าน
พูนสนิท
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
Diamond81
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารทหารไทย / 125-2-26501-0

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
Beavisแมวดำ99พีพีพระสมเด็จพีพีพระเครื่องep8600devanc
mon37ภูมิ IRศิษย์บูรพาjazzsiam amuletเจริญสุขsomphop
น้ำตาลแดงsomemanTotoTatokaew กจ.vanglannaMuthita
ยอด วัดโพธิ์ตุ๊ก แปดริ้วLe29Amuletอ้น อักขระBon13บ้านพระหลักร้อย
ponsrithong2Kittipanchaithawatยุ้ย พลานุภาพว.ศิลป์สยามBAINGERN

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1192 คน

เพิ่มข้อมูล

เหรียญมงคลบพิตร ๒๔๘๕ เนื้อทองแดง



  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
เหรียญมงคลบพิตร ๒๔๘๕ เนื้อทองแดง
รายละเอียด
เหรียญรุ่น 2 พระมงคลบพิตร ปี 2485 เนื้อทองแดงรมดำพระมงคลบพิตร.. พุทธปฏิมาที่ทรงพุทธานุภาพแห่งกรุงศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 2485 ได้มีการจัดสร้างเหรียญพระมงคลบพิตรและแหวนยันต์มงคล เหรียญที่จัดสร้างขึ้นเป็นเหรียญปั๊ม 5 เหลี่ยม มีทั้งเนื้อทองแดง เนื้อเงิน และเนื้อทองแดงพระเกศเป็นทองคำ ซึ่งเป็นพระคะแนน พิธีกรรมยิ่งใหญ่ไม่แพ้การจัดสร้างพระเครื่อง 25 พุทธศตวรรษ พิธีการสร้างเหรียญพระมงคลบพิตรและแหวนยันต์มงคล ปี พ.ศ. 2485 แบ่งเป็น 2 วาระวาระแรก.....คือพิธีกรรมหลอมทอง กระทำ ณ วิหารพระมงคลบพิตร เริ่มตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ ต่อเนื่องถึงวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 พระญาณไตรโลกาจารย์ (ฉาย) วัดพนัญเชิงวรวิหาร เป็นประธานจุดเทียนชัย ไฟที่ใช้จุดเทียนชัยนี้ ไม่ใช่ไฟธรรมดา แต่ใช้ล่อจากแสงอาทิตย์ ซึ่งนับว่าเป็นไฟฟ้าอย่างแท้จริง ในระหว่างพิธี ได้นำแม่พิมพ์ที่ใช้สร้างเหรียญพระมงคลบพิตรและแหวนยันต์มงคลไปถวายพระเถราจารย์ ลงเลขยันต์ปลุกเสก และยังได้อาราธนาประชุมปลุกเสกพร้อมกัน ทั้งแม่พิมพ์และโลหะทั้งหมดที่จะนำไปหลอม ณ ที่เฉพาะพระพักตร์พระมงคลบพิตรอีกครั้งหนึ่ง โลหะที่นำไปหลอมจัดสร้างวัตถุมงคลในครั้งนั้น ประกอบด้วยแผ่นทองจากพระอาจารย์ผู้ทรงวิทยาคมในจังหวัดต่างๆ ลงอักขระปลุกเสกและส่งมาร่วมในพิธี จำนวน 121 รูป โลหะเครื่องรางโบราณที่พบในบริเวณพระราชวังโบราณ คราวปรับปรุงเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาอีกมากหลายชนิดนอกจากนี้ ยังมีทองชนวนจากพิธีสำคัญของพระอารามต่างๆ เช่น ทองชนวนพิธี วัดอนงคาราม ทองชนวนพิธีวัดหิรัญรูจี ทองชนวนรุ่นพระอาจารย์ 108 ของพิธีวัดราชบพิธ พ.ศ. 2481 ทองชนวนนวโลหะ พิธีหล่อพระชัยของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ ทองชนวนพระกริ่งวัฒนะ วัดกัลยาณมิตร ทองชนวนพระกริ่ง วัดชนะสงคราม ทองชนวนพระกริ่ง วัดสุทัศน์ ทองชนวนนวโลหะจากพิธีสำคัญต่างๆครั้นในวันรุ่งขึ้นวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2485 ได้ปฐมฤกษ์ เวลา 10:21 น. หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา เป็นประธานหย่อนแผ่นเงินจารึกดวงประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน กับดวงฤกษ์ลงเบ้า เพื่อหลอมรวมกับทองชนวนและโลหะมงคลต่างๆ ซึ่งสุมรวมอยู่ในเบ้าอยู่ก่อนแล้ว ต่อมา ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ภริยา ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ใส่ทองคำหนัก 1 บาท (ทองคำนี้ได้อาราธนาพระเถราจารย์ลงอักขระปลุกเสกโดยเฉพาะทุกรูป) ลงเบ้าจนละลายเข้ากันดี แล้วหลวงพ่อจาด จึงเริ่มเททอง โหรลั่นฆ้องชัย พิณพาทย์บรรเลง พระเถราจารย์ทั้งหลายเจริญชัยมงคลคาถา เมื่อดับเทียนชัยแล้ว พระเถราจารย์ทั้งหมดได้มาบริกรรมปลุกเสกทองที่หลอมเสร็จกับแม่พิมพ์อีกครั้งหนึ่ง เป็นอันเสร็จพิธีหลอมทองวาระสอง.....หลังจากปั้มเหรียญเสร็จเป็นองค์พระเครื่องแล้ว ได้จัดให้มีพิธีพุทธาภิเษกอีกครั้งหนึ่ง ในวันเสาร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 5 (วันเสาร์ ๕) ตรงกับวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2485 ณ พระอุโบสถ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพฯ พระคณาจารย์ 121 รูป ที่เมตตาลงอักขระปลุกเสกแผ่นทอง ส่งมาร่วมพิธี ล้วนเป็นพระเถระผู้ทรงวิทยาคมแห่งยุค อาทิ :สมเด็จพระสังฆราช (แพ) วัดสุทัศน์สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ (ชื่น) วัดบวรนิเวศวิหารสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) วัดมหาธาตุสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดเทพศิรินทราวาสพระญาณไตรโลกาจารย์ (ฉาย) วัดพนัญเชิงหลวงพ่อเปลี่ยน วัดใต้ กาญจนบุรีหลวงพ่อพุ่ม วัดบางโคล่นอกหลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอกหลวงปู่เฮี้ยง วัดป่าอรัญญิกาวาส ชลบุรีหลวงปู่จันทร์ วัดบ้านยาง ราชบุรีหลวงปู่กลิ่น วัดสะพานสูง นนทบุรีหลวงพ่ออี๋ วัดสัตหีบ ชลบุรีหลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม นครปฐมหลวงพ่อเหลือ วัดสาวชะโงก ฉะเชิงเทราหลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว สมุทรปราการหลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา ปราจีนบุรีพระครูอาคมสุนทร (มา) วัดราชบูรณะ กรุงเทพฯพระครูพิทักษ์ธรรมโสภิต วัดแหลมฟ้าผ่าหลวงพ่อบ่าย วัดช่องลม สมุทรสงครามหลวงปู่เส่ง วัดกัลยาณมิตรหลวงพ่อรุ่ง วัดท่ากระบือ สมุทรสาครหลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม สมุทรสงครามหลวงพ่ออั้น วัดพระญาติ อยุธยาหลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ อยุธยาพระอธิการจันทร์ วัดคลองระนง นครสวรรค์หลวงปู่จันทร์ วัดนางหนู ลพบุรีหลวงพ่อแช่ม วัดตาก้อง นครปฐมหลวงพ่อปลื้ม วัดปากคลองมะขามเฒ่า ชัยนาทหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง นครปฐมหลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยาหลวงพ่อเล็ก วัดบางนมโค อยุธยาพระอาจารย์แฉ่ง วัดบางพัง นนทบุรีฯลฯนอกจากส่งแผ่นทองเข้าร่วมพิธีแล้ว พระเถระหลายท่านยังได้เมตตารับนิมนต์ร่วมทำพิธีหลอมทอง ณ วัดมงคลบพิตร และพิธีพุทธาภิเษก ณ วัดราชบพิธอีกด้วย กล่าวได้ว่า เหรียญพระมงคลบพิตร พ.ศ. 2485 เป็นหนึ่งในสุดยอดเหรียญที่เต็มเปี่ยมด้วยพุทธคุณ มีขั้นตอนการสร้างอันพิถีพิถันและงดงามยิ่ง วัตถุมงคลทุกชิ้นที่สร้างขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเนื้อทองแดงหรือเนื้อเงิน ล้วนได้เจือทองในพิธีผสมทั่วกันหมด แล้วยังเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เช่าบูชา ดังนี้ :-บริจาค 1 บาท ได้รับเหรียญพระมงคลบพิตร เนื้อทองแดง หรือแหวนยันต์มงคล อย่างใดอย่างหนึ่ง-บริจาค 2 บาท ได้รับแหวนยันต์มงคลเนื้อเงินขัดเงา 1 วง-บริจาค 3 บาท ได้รับเหรียญพระมงคลบพิตร เนื้อเงิน 1 เหรียญ-บริจาค 4 บาท ได้รับแหวนยันต์มงคลเนื้อเงินกะไหล่ทอง 1 วง-บริจาค 100 บาท ได้รับเหรียญพระมงคลบพิตรเนื้อทองแดง หรือแหวนยันต์มงคลเนื้อทองแดง อย่างใดอย่างหนึ่ง 110 ชิ้น และแถมพระมงคลบพิตรเนื้อทองแดง พระเกศทองคำ (เหรียญคะแนน)
ราคาปัจจุบัน
โทรถาม
จำนวนผู้เข้าชม
601 ครั้ง
สถานะ
มาใหม่
โดย
ชื่อร้าน
พูนสนิท
URL
เบอร์โทรศัพท์
062-3954665 / 062-3254665
ID LINE
Diamond81
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารทหารไทย / 125-2-26501-0




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี